วันศุกร์ที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน

ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน หมายถึง  การดำเนินการตามขั้นตอนของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน  5  ขั้นตอนที่บูรณาการกับนโยบาย  3 D  ของรัฐบาล  โดยดำเนินกิจกรรมที่เกี่ยวข้องดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 การรู้จักนักเรียนรายบุคคล
          เป็นการจัดทำแฟ้มข้อมูลรายบุคคลของนักเรียนทุกคน  ตั้งแต่แรกเข้าเรียนจนจบการศึกษา
จากโรงเรียน  ภายในแฟ้มข้อมูลประกอบด้วยเอกสารสำคัญแสดงข้อมูลต่าง ดังนี้
1.       แบบสำรวจข้อมูลทั่วไปและทะเบียนบ้าน แสดงข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับนักเรียนและสภาพครอบครัว
2.       แบบรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายบุคคล เป็นข้อมูลด้านการเรียนของนักเรียนในแต่ละ
ปีการศึกษา
3.       ระเบียนสะสม  ประกอบด้วยข้อมูลส่วนตัว  ครอบครัว  การศึกษา  สุขภาพ  พฤติกรรมและบุคลิกภาพของนักเรียน
4.       บัตรบันทึกสุขภาพประจำตัวนักเรียน  เป็นข้อมูลด้านสุขภาพ          
5.       แบบบันทึกการเยี่ยมบ้าน ประกอบด้วยข้อมูลทั่วไป สภาพครอบครัว ฐานะทางเศรษฐกิจ พฤติกรรมของผู้เรียนขณะอยู่บ้าน และภาพถ่ายที่อยู่อาศัย
6.       แบบสำรวจลีลาการเรียนรู้ของผู้เรียน  เป็นข้อมูลพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียนรายบุคคล
7.       แบบประเมินตนเอง ( SDQ ) ฉบับฉบับนักเรียน  ฉบับครู  และฉบับผู้ปกครอง เป็นข้อมูลด้าน
สุขภาพจิต
8.       แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ ( EQ ) เป็นข้อมูลด้านอารมณ์และความรู้สึกของนักเรียน
9.       แบบคัดกรองนักเรียนและแนวทางการช่วยเหลือ  เป็นแบบสรุปผลการคัดกรองผู้เรียนในด้าน
การเรียน  ความสามารถ  สุขภาพกาย สุขภาพจิต  ความประพฤติ เศรษฐกิจ การคุ้มครองนักเรียน และด้านอื่น เช่น การใช้สารเสพติด การมีเพศสัมพันธ์
ขั้นตอนที่ 2 การคัดกรองนักเรียน
          ดำเนิน การคัดกรองโดยใช้ข้อมูลทั้งหมดจากแฟ้มข้อมูลนักเรียนตามขั้นตอนที่ 1 ผนวกกับการสัมภาษณ์ การสังเกตพฤติกรรมนักเรียน ทำให้สามารถคัดกรองนักเรียนออกเป็น 3 กลุ่ม ในแต่ละด้านดังนี้
รายการคัดกรอง
ผลการคัดกรอง
จำนวน(คน)
ด้านการเรียน
กลุ่มปกติ
0
กลุ่มเสี่ยง
0
กลุ่มมีปัญหา
0
ด้านสุขภาพ
กลุ่มปกติ
0
กลุ่มเสี่ยง
0
กลุ่มมีปัญหา
0
ด้านครอบครัว
(
เศรษฐกิจ )
กลุ่มปกติ
0
กลุ่มเสี่ยง
0
กลุ่มมีปัญหา
0
ด้านพฤติกรรม
ที่ไม่พึงประสงค์
กลุ่มปกติ
0
กลุ่มเสี่ยง
0
กลุ่มมีปัญหา
-

ขั้นตอนที่ 3 การส่งเสริม
          เป็นการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของนักเรียนทั้งในกลุ่ม ปกติ กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มมีปัญหา โดยการจัดกิจกรรมและโครงการตามแนวนโยบาย 3 D ของรัฐบาล  ดังนี้
1.       กิจกรรมส่งเสริมศักยภาพของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้าน ประชาธิปไตย ( Democracy ) โดยเน้นให้ผู้เรียนมีวิถีชีวิตประชาธิปไตย มีปัญญาธรรม คารวะธรรม และสามัคคีธรรม ได้แก
·       การจัดการเรียนรู้ในห้องเรียนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
·       โครงการส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน
·       โครงการค่ายบูรณาการการเรียนรู้
·       โครงการพัฒนาศักยภาพทางวิชาการในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ
·       โครงการลูกเสือ - เนตรนารี
2.       กิจกรรมส่งเสริมศักยภาพของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านคุณธรรมจริยธรรมและความเป็นไทย ( Decency ) ได้แก่
·       กิจกรรมโฮมรูม
·       โครงการโรงเรียนวิถีพุทธ
·       โครงการสืบสานวัฒนธรรมไทย
·       โครงการค่ายบูรณาการการเรียนรู้
·       กิจกรรมเยาวชนจิตอาสา
3.       กิจกรรมส่งเสริมศักยภาพของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านภูมิคุ้มกันภัยจากยาเสพติด ( Drug-Free ) ได้แก่
·       โครงการโรงเรียนสีขาว
·       โครงการส่งเสริมกีฬา
·       กรีฑานักเรียน
·       โครงการโรงเรียนวิถีพุทธ
·       กิจกรรม To be number one
·       กิจกรรมชุมนุมกลุ่มสนใจ
·       กิจกรรมส่งเสริมความสามารถด้านดนตรี
·       กิจกรรมส่งเสริมความสามารถด้านนาฎศิลป์
·       กิจกรรมส่งเสริมความสามารถด้านศิลปะ
·       กิจกรรมประชุมผู้ปกครองในชั้นเรียน Classroom meeting
·       โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
·       โครงการเกษตรธรรมชาติ
·       โครงการเรารักษ์สิ่งแวดล้อม
·       กิจกรรมเยาวชนจิตอาสา 
ขั้นตอนที่ 4 การป้องกันและแก้ไขปัญหา
          เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นสำหรับนักเรียนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มมีปัญหา ได้แก่
1.       การให้คำปรึกษา
2.       การสอนซ่อมเสริม
3.       การเยี่ยมบ้านเพื่อสื่อสารกับผู้ปกครอง
4.       กิจกรรมการสร้างเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน
5.       การศึกษาเป็นรายกรณี ( Case Study)
6.       การทำวิจัยในชั้นเรียน
ขั้นตอนที่ 5 การส่งต่อนักเรียน
          การส่งต่อนักเรียนเป็น ขั้นตอนการดำเนินการกรณีที่นักเรียนต้องการความช่วยเหลือ หรือการแก้ปัญหาที่ซับซ้อนขึ้น ซึ่งครูประจำชั้นไม่สามารถดำเนินการได้ มี 2 ลักษณะ ได้แก่
1.       การส่งต่อภายใน
·       กรณีมีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ จะส่งต่อฝ่ายปกครอง หรือผู้บริหารโรงเรียน
·       กรณีมีปัญหาด้านสุขภาพ ส่งต่อครูอนามัยโรงเรียน
·       กรณีมีปัญหาด้านสุขภาพจิต ส่งต่อครูแนะแนว
·       กรณีมีปัญหาด้านการเรียน ส่งต่อครูผู้สอนรายวิชาที่นักเรียนมีปัญหา
2.       การส่งต่อภายนอก เพื่อส่งไปยังผู้เชี่ยวชาญเฉพาะ ได้แก่
·       กรณีมีปัญหาด้านการเรียนรู้ ส่งต่อโรงพยาบาลจิตเวชเพื่อค้นหาสาเหตุ
·       กรณีมีปัญหาด้านสุขภาพ ส่งต่อสถานีอนามัยหรือโรงพยาบาล
·       กรณีมีปัญหาด้านเศรษฐกิจ ส่งขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานต่าง เช่น องค์การบริหารส่วนตำบลหนองสรวง สภากาชาดจังหวัดนครราชสีมา วัดหนองสรวง และผู้มีจิตศรัทธา


                                                                                      โดย:nutpaphus

หลักใช้คำย่อ ต่างๆ

ตำแหน่ง
ขรก
ข้าราชการ
กญ.
กองการศึกษาผู้ใหญ่
นร.
นักเรียน
ก.ตร.
กรมตำรวจ
นศ
นักศึกษา
กฟผ.
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
อ.
อาจารย์
กฟภ.
ก   การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
ศจ.
ศาสตราจารย์
ก    กอรมน.
กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน
รศ.
รองศาสตราจารย์
กกร.
คณะกรรมการร่วมภาคเอกชน
ผศ.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์
กนอ
การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ผอ.
ผู้อำนวยการ
กบว
คณะกรรมการบริหารวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย
ดร.
ด็อกเตอร์
กกท.
คณะกรรมการการกีฬาแห่งประเทศไทย
น.พ.
นายแพทย์
กสท.
การสื่อสารแห่งประเทศไทย
พ.ญ.
แพทย์หญิง
กทม.
กรุงเทพมหานคร
ท.พ.
ทันตแพทย์
กปน.
การประปานครหลวง
ท.ญ.
ทันตแพทย์หญิง
ครม.
คณะรัฐมนตรี
รมต.
รัฐมนตรี
คคบ.
คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
รมช.
รัฐมนตรีช่วยว่าการ
จีบา
สถาบันบริหารธุรกิจ-จุฬา
รมว.
รัฐมนตรีว่าการ
ททท.
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
ส.ส.
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
ธอส.
ธนาคารอาคารสงเคราะห์
สจ.
สมาชิกสภาจังหวัด
ธกส.
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
ส.ท.
สมาชิกสภาเทศบาลตำบล
ธ.
ธนาคาร
ส.ภ.อ.
สมาชิกสภาอำเภอ
นิด้า
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
สวป.
สารวัตรปราบปราม
บีโอไอ
คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
สวญ.
สารวัตรใหญ่
บ.
บริษัท
สวส.
สารวัตรสืบสวน
บ.ด.ท.
บริษัทเดินอากาศไทย จำกัด
ท.ส.
นายทหารคนสนิท
บช.น.
กองบัญชาการตำรวจนครบาล
ผบ.สูงสุด
ผู้บัญชาการทหารสูงสุด
บช.ภ.
กองบัญชาการตำรวจภูธร
ผบ.ทบ.
ผู้บัญชาการทหารบก
ปตท.
การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย
ผบ.ทบ.
ผู้บัญชาการทหารบก
ปปป.
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ
ผบ.ทร.
ผู้บัญชาการทหารเรือ
ปปส.
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
ผบ.ทอ.
ผู้บัญชาการทหารอากาศ
มท.
กระทรวงมหาดไทย
ผบก.ป.
ผู้บังคับการกองปราบปราม
ม.
มหาวิทยาลัย
ต.ช.ด.
ตำรวจตระเวนชายแดน
มธ.
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รมว.
รัฐมนตรีว่าการ
มก.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
อส.
อาสาสมัคร
มช.
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อ.ตร.
อธิบดีกรมตำรวจ
มศว.
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ร.พ.ช.
สำนักงานเร่งรัดพัฒนาชนบท
สน.
สถานีตำรวจนครบาล
ร.ส.พ.
องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์
สน.ภ.
สถานีตำรวจภูธร
ร.พ.
โรงพยาบาล
สปอ.
สำนักงานการประถมศึกษาอำเภอ
ร.ด.
รักษาดินแดง
สปช.
สำนักงานการประถมศึกษาแห่งชาติ
วค.
วิทยาลัยครู
สปจ.
สำนักงานการประถมศึกษาจังหวัด
วปอ.
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
สช.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน
ศธ.
กระทรวงศึกษาธิการ
สปอ.
องค์การสนธิสัญญาป้องกันร่วมกันระหว่างเอเชียอาคเนย์
สน.
สถานีตำรวจนครบาล
ห.จ.ก.
ห้างหุ้นส่วนจำกัด
สน.ภ.
สถานีตำรวจภูธร
ห.ส.น.
ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล
สปอ.
สำนักงานการประถมศึกษาอำเภอ
อตก.
องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร
สปช.
สำนักงานการประถมศึกษาแห่งชาติ
อย.
คณะกรรมการอาหารและยา
สปจ.
สำนักงานการประถมศึกษาจังหวัด
อ.ส.ม.ท.
องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย
สช.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน
อ.ส.ท.
องค์การส่งเสริมการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
สปอ.   องค์การสนธิสัญญาป้องกันร่วมกันระหว่างเอเชียอาคเนย์
อสร.
องค์การผลิตอาหารสำเร็จรูป
สมช.    สภาความมั่นคงแห่งชาติ
อสค.
องค์การส่งเสริมการเลี้ยงโคนมแห่งประเทศไทย
สวช.    สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ

ทหารบก
ทหารอากาศ
ท.บ.
ทหารบก
ท.อ.
ทหารอากาศ
น.น.ร.
นักเรียนนายร้อย
น.ร.อ.
นักเรียนนายเรืออากาศ
พลฯ
พลทหาร
จ.อ.ต.
จ่าอากาศตรี
ส.ต.
สิบตรี
จ.อ.ท.
จ่าอากาศโท
ส.ท.
สิบโท
จ.อ.อ.
จ่าอากาศเอก
ส.อ.
สิบเอก
พ.อ.ต.
พันจ่าอากาศตรี
จ.ส.ต.
จ่าสิบตรี
พ.อ.ท.
พันจ่าอากาศโท
จ.ส.ท.
จ่าสิบโท
พ.อ.อ.
พันจ่าอากาศเอก
จ.ส.อ.
จ่าสิบเอก
ร.ต.
เรืออากาศตรี
ร.ต.
ร้อยตรี
ร.ท.
เรืออากาศโท
ร.ท.
ร้อยโท
ร.อ.
เรืออากาศเอก
ร.อ.
ร้อยเอก
พล.อ.ต.
พลอากาศตรี
พ.ต.
พันตรี
พล.อ.ท.
พลอากาศโท
พ.ท.
พันโท
พล.อ.อ.
พลอากาศเอก
พ.อ.
พันเอก
ตำรวจ
พล.ต.
พลตรี
ต.ร.
ตำรวจ
พล.ท.
พลโท
น.ร.ต.
นักเรียนนายร้อยตำรวจ
พล.อ.
พลเอก
ส.ต.ต.
สิบตำรวจตรี
ทหารเรือ
ส.ต.ท.
สิบตำรวจโท
ท.ร.
ทหารเรือ
ส.ต.อ.
สิบตำรวจเอก
น.ร.
นักเรียนนายเรือ
จ.ส.ต.
จ่านายสิบตำรวจตรี
จ.ต.
จ่าตรี
จ.ส.ท.
จ่านายสิบตำรวจโท
จ.ท.
จ่าโท
จ.ส.อ.
จ่านายสิบตำรวจเอก
จ.อ.
จ่าเอก
ดต.
นายดาบตำรวจ
พ.จ.ต.
พันจ่าตรี
ร.ต.ต.
ร้อยตำรวจตรี
พ.จ.ท.
พันจ่าโท
ร.ต.ท.
ร้อยตำรวจโท
พ.จ.อ.
พันจ่าเอก
ร.ต.อ.
ร้อยตำรวจเอก
ร.ต.  (ร.น.)
เรือตรี  (ราชนาวี)
พ.ต.ต.
พันตำรวจตรี
ร.ท.  (ร.น.)
เรือโท  (ราชนาวี)
พ.ต.ท.
พันตำรวจโท
ร.อ.  (ร.น.)
เรือเอก  (ราชนาวี)
พ.ต.อ.
พันตำรวจเอก
น.ต.  (ร.น.)
นาวาตรี  (ราชนาวี)
พล.ต.ต.
พลตำรวจตรี
น.ท.  (ร.น.)
นาวาโท  (ราชนาวี)
พล.ต.ท.
พลตำรวจโท
น.อ.  (ร.น.)
นาวาเอก  (ราชนาวี)
พล.ต.อ.
พลตำรวจเอก
พล.ร.ต.
พลเรือตรี
หมายเหตุ ยศตำรวจนั้นมีเพิ่มพิเศษอีกยศหนึ่งคือ
นายดาบตำรวจซึ่งเลื่อนมาจาก จ่านายสิบตำรวจเอก
ยศนี้ต่ำกว่ายศนายร้อยตำรวจ

พล.ร.ท.
พลเรือโท
พล.ร.อ.
พลเรือเอก
อักษรย่ออื่น ๆ
ปท.
ไปรษณีย์โทรเลข
รัฐฯ
รัฐบาล
ตู้  ปณ.
ตู้ไปรษณีย์
มร.
มิสเตอร์  (นาย)
ปชส.
ประชาสัมพันธ์
ตร.
ตำรวจ
ภ.ง.ด.
ภาษีเงินได้
ต.
ตำบล
พ.ร.บ.
พระราชบัญญัติ
อ.
อำเภอ
พ.ร.ฎ.
พระราชกฤษฎีกา
จ.
จังหวัด
พรก.
พระราชกำหนด
รธน.
รัฐธรรมนูญ
โทร.
โทรศัพท์
ร.
รัชกาล
ป.ล.
ปัจฉิมลิขิต
กม.
กฎหมาย
สต.
สตางค์
ครม.
คณะรัฐมนตรี
บ.
บาท
ผกค.
ผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์
จนท.
เจ้าหน้าที่


เป็นการอ่านยศ ของทหารและตำรวจไทยนะคะ คิดว่ามีประโยชน์เวลาไปทำงานค่ะ จะได้อ่านถูก
** 07160_59.gif
จะสังเกตุได้ว่าอักษรย่อของ นายทหารอากาศ กับทหารเรือจะเหมือนกัน
แต่สังเกตุง่ายๆ คือหลังชื่อของทหารเรือจะมี ร.น ต่อท้ายนั่นก็คือ ราชนาวีค่ะ
อีกอย่าง ยศทหารบกกับตำรวจจะคล้ายกัน แต่ตำรวจมี จ่าสิบตำรวจเท่านั้น ไม่มีจ่าตรี โท อะไรทั้งสิ้น ยศทหารบกกับตำรวจเพียงแค่เพิ่ม ตำรวจเข้าไปเป็นใช้ได้  เช่น พันตรี ก็พันตำรวจตรี
ส่วนทหารอากาศ กับทหารเรือ อย่างแรก สังเกตุหลังชื่อว่ามี ร.น ไหม
แล้วก็ตัดตัวคำว่า อากาศออก เช่น ทหารอากาศจะเป็น เรืออากาศเอก ก็จะเป็น เรือเอกค่ะ
ขอบคุณ Wikipedia และ นาวาอากาศเอกเมธินทร์ ทรงชัยกุล ที่ช่วยสอนน้องสาวคนนี้ให้อ่านเป็นค่ะ heart.gif
prinzessingal
Jan 28 2008, 03:08 PM 
ยศตำรวจ
ชั้นสัญญาบัตร
ชั้นยศ นายตำรวจชั้นสัญญาบัตร เรียกสั้นๆว่า นายตำรวจ
ผู้หมวด = ร้อยตำรวจตรี - ร้อยตำรวจโท ร้อยตำรวจเอก เป็นตำแหน่งรองสารวัตร
ผู้กอง = พันตำรวจตรี เป็นตำแหน่ง สารวัตร
ผู้พัน = พันตำรวจตรี - พันตำรวจโท เป็นตำแหน่งชั้นสารวัตร จนถึง รองผู้กำกับการ ปัจจุบันนี้กลับมาใช้ชื่อ รองสารวัตรใหญ่ อีกครั้ง
ผู้การ = ชั้นยศ พันตำรวจเอก เป็นตำแหน่งผู้กำกับการ หรือสารวัตรใหญ่ ไปจนถึงรองผู้บังคับการตำรวจ เช่นรองผู้บังคับการตำรวจทางหลวง รองผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัดชัยภูมิ ซึ่งก็จะเรียกกันว่าท่านรองแทน
ชั้นยศ นายพล
ผู้การ = พลตรี พลตำรวจตรี เรียกผู้การเหมือนกัน แต่เป็นหน่วยใหญ่กว่าชั้นยศพันเอก เช่น ผู้บังคับการจังหวัดทหารบกเพชรบุรี ผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัดลพบุรี
ผู้บัญชาการ = ชั้นยศ พลตำรวจโท ขึ้นไป เป็นตำแหน่งผู้บัญชาการ เช่น ผู้บัญชาการตำรวจนครบาล (พลตำรวจโท) , ผู้บัญชาการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ (พลตำรวจเอก)
พลตำรวจเอก พล.ต.อ. Police General POL.GEN.
พลตำรวจโท พล.ต.ท. Police Lieutenant General POL.LT.GEN.
พลตำรวจตรี พล.ต.ต. Police Major General POL.MAJ.GEN.
พลตำรวจจัตวา[4] พล.ต.จ. Police Brigadier General POL.BRIG.GEN.
พันตำรวจเอก (พิเศษ)[5] พ.ต.อ. (พิเศษ) Police Senior Colonel POL.SR.COL.
พันตำรวจเอก พ.ต.อ. Police Colonel POL.COL.
พันตำรวจโท พ.ต.ท. Police Lieutenant Colonel POL.LT.COL.
พันตำรวจตรี พ.ต.ต. Police Major POL.MAJ.
ร้อยตำรวจเอก ร.ต.อ. Police Captain POL.CAPT.
ร้อยตำรวจโท ร.ต.ท. Police Lieutenant POL.LT.
ร้อยตำรวจตรี ร.ต.ต. Police Sub-Lieutenant POL.SUB.LT
ยศทหารค่ะ
นักเรียนทหาร
นักเรียนนายร้อย นนร. Army Cadet -
นักเรียนแพทย์ทหาร นพท. Medical Cadet -
นักเรียนนายสิบทหารบก - Army Non - Commissioned Officer Student
ต่ำกว่าชั้นประทวน
อ่านเหมือนเดิมคือ ชื่อยศ อักษรย่อ ชื่อภาษาอังกฤษและอันสุดท้ายจะเป็นรหัสนาโต้
พลทหาร พลฯ Private PV OR-1
ชั้นประทวน
จ่าสิบเอก จ.ส.อ. Master Sergeant First Class 1MSGT หรือ SMG OR-9
จ่าสิบโท จ.ส.ท. Master Sergeant Second Class 2MSGT หรือ MSG OR-8
จ่าสิบตรี จ.ส.ต. Master Sergeant Third Class 3MSGT หรือ SFC OR-7
สิบเอก ส.อ. Sergeant SGT OR-5
สิบโท ส.ท. Corporal CPL หรือ SP6 OR-4
สิบตรี ส.ต. Lance Corporal LCPL หรือ SP5 OR-3
สิบตรีกองประจำการ ส.ต.ฯ Private First Class PFC หรือ SP4 OR-2
นายสิบ ก็ตั้งแต่ สิบตรี - สิบเอก จะเป็นตำแหน่ง ผู้บังคับหมู่ หรือเรียกกันว่า ผู้หมู่
จ่า = จ่าสิบตรี - จ่าสิบเอกพิเศษ (ประทวน 3 ) จะเป็นตำแหน่งผู้หมู่อาวุโส ส่วนของตำรวจ จะเป็น จ่าสิบตำรวจ ชั้นเดียวเลย ไม่มี ตรี โท เอก เทียบเท่ากับ จ่าสิบเอก ตำแหน่งก็จะเเป็นผู้บังคับหมู่งาน
นายดาบทหาร = ปัจจุบันนี้ไม่มีการแต่งตั้งแล้ว คงแต่ยศไว้ แล้วใช้ยศ จ่าสิบเอกพิเศษแทน อาจจะบรรจุลงตำแหน่งผู้บังคับหมวดก็ได้ เรียกให้โก้ๆหน่อยก็เป็นผู้หมวด สำหรับหน่วยสนามที่ขาดแคลนกำลังพลระดับผู้นำหมวด แต่ยศนายดาบตำรวจยังมีอยู่
ชั้นยศ นายทหารชั้นสัญญาบัตร เรียกสั้นๆว่า นายทหาร
ผู้หมวด = ร้อยตรี - ร้อยโท ตำแหน่งผู้บังคับหมวด เช่นผู้บังคับหมวดปืนเล็ก
ผู้กอง = ร้อยเอก - พันตรี ตำแหน่งผู้บังคับกองร้อย
ผู้พัน = พันตรี - พันโท และบางหน่วยเฉพาะกิจที่จัดกำลังผสม อาจถึงชั้นยศ พันเอก ตำแหน่งผู้บังคับกองพัน
ผู้การ = ชั้นยศ พันเอก - พันเอกพิเศษ ตำแหน่งผู้บังคับการ เช่นผู้บังคับการกรมทหารราบที่ 11
ชั้นยศ นายพล
ผู้การ = พลตรี พลตำรวจตรี เรียกผู้การเหมือนกัน แต่เป็นหน่วยใหญ่กว่าชั้นยศพันเอก เช่น ผู้บังคับการจังหวัดทหารบกเพชรบุรี
ผู้บัญชาการ = ชั้นยศ พลโท พลตำรวจโท ขึ้นไป เช่น ผู้บัญชาการศูนย์สงครามพิเศษ (พลโท) , ผู้บัญชาการมณฑลทหารบกที่ 33 (พลโท) , ผู้บัญชาการทหารบก (พลเอก อัตราจอมพล หรือ น.9)
จอมพล ปัจจุบันนี้ไม่มีการแต่งตั้ง เนื่องจากสงวนไว้สำหรับพระมหากษัตริย์ ซึ่งทรงดำรงตำแหน่ง จอมทัพไทย เท่านั้น
นอกจากนี้ยังเรียกตำแหน่งอื่นๆอีกหลายอย่าง เช่น ผู้อำนวยการ หรือ ผอ. สำหรับหน่วยทหารที่ไม่ได้จัดหน่วยแบบกำลังรบ ตำแหน่งเทียบเท่าผู้การ , แม่ทัพ เช่นแม่ทัพภาคที่ 4 ตำแหน่งเทียบเท่าผู้บัญชาการ(พลโทอาวุโส)
จอมพล - Field Marshal - OF-10
พลเอก พล.อ. General Gen. OF-9
พลโท พล.ท. Lieutenant General Lt.Gen. OF-8
พลตรี พล.ต. Major General Maj.Gen. OF-7
พลจัตวา[4] พล.จ. Brigadier General Brig.Gen. OF-6 -
พันเอก (พิเศษ)[5] พ.อ.(พิเศษ) Senior Colonel Sr COL OF-6 -
พันเอก พ.อ. Colonel Col. OF-5 -
พันโท พ.ท. Lieutenant Colonel Lt.Col. OF-4 -
พันตรี พ.ต. Major Maj. OF-3 -
ร้อยเอก ร.อ. Captain Capt. OF-2 -
ร้อยโท ร.ท. First Lieutenant Lt. OF-1 -
ร้อยตรี ร.ต. Second Lieutenant Lt. OF-1
ประทวน และ สัญญาบัตร นั้น
ประทวน คือ ยศที่แต่งตั้งโดยแม่ทัพขึ้นไปโดยไม่จำเป็นต้องเป็นผู้บัญชาการทหารบกเป็นผู้แต่งตั้ง เท่านั้น พลโทขึ้นไป สามารถแต่งตั้งยศชั้นประทวนได้
สัญญาบัตร หรือเรียกกันว่า นายทหาร จะต้องได้รับการโปรดเกล้าค่ะ
สำหรับ เสธ. นั้น ก็เป็นฝ่ายอำนายการเหมือนกันนะคะ เป็นฝ่ายวางแผน วิเคราะห์ ก็มีตั้งแต่ชั้นยศ พันตรี ไปจนถึง พลเอก
เสธ. เสนาธิการทหาร
นักเรียนทหาร
นักเรียนนายเรืออากาศ นนอ. Air Cadet -
นักเรียนจ่าอากาศ - Air Technical Student
ต่ำกว่าชั้นประทวน
พลทหาร พลฯ Airman AMN OR-1
ชั้นประทวน
พันจ่าอากาศเอก พ.อ.อ. Flight Sergeant First Class 1FS OR-9
พันจ่าอากาศโท พ.อ.ท. Flight Sergeant Second Class 2FS OR-8
พันจ่าอากาศตรี พ.อ.ต. Flight Sergeant Third Class 3FS OR-7
จ่าอากาศเอก จ.อ. Sergeant SGT OR-5
จ่าอากาศโท จ.ท. Corporal CPL OR-4
จ่าอากาศตรี จ.ต. Leading Aircraft man LAC OR-2
ชั้นสัญญาบัตร
จอมพลอากาศ - Marshal of the Royal Thai Air Force OF-10
พลอากาศเอก พล.อ.อ. Air Chief Marshal ACM OF-9
พลอากาศโท พล.อ.ท. Air Marshal AM OF-8
พลอากาศตรี พล.อ.ต. Air Vice Marshal AVM OF-7
พลอากาศจัตวา[4] พล.อ.จ. Air Commodore ACDR OF-6 -
เทียบได้กับ ยศผู้พัน
นาวาอากาศเอก (พิเศษ)[5] น.อ.พิเศษ Senior Group Captain Sr Gp Capt OF-6 -
นาวาอากาศเอก น.อ. Group Captain Gp Capt OF-5
นาวาอากาศโท น.ท. Wing Commander Wng Cdr OF-4
นาวาอากาศตรี น.ต. Squadron Leader Sqn Ldr OF-3
เทียบกับนายร้อยของทหารบกหรือนายร้อยตำรวจ
เรืออากาศเอก ร.อ. Flight Lieutenant Flt Lt OF-2
เรืออากาศโท ร.ท. Flying Officer Flg Off OF-1
เรืออากาศตรี ร.ต. Pilot Officer Plt Off OF-1
ยศทหารเรือ
นักเรียนทหาร
นักเรียนนายเรือ นนร. Naval Cadet -
นักเรียนจ่าทหารเรือ พลฯ Naval Rating Student
ต่ำกว่าชั้นประทวน
พลทหาร (ปี 2) พลฯ Seaman First Class 1 SEAMAN OR-1
พลทหาร (ปี 1) พลฯ Seaman Second Class 2 SEAMAN OR-1
ชั้นประทวน
พันจ่าเอก พ.จ.อ. Chief Petty Officer First Class 1 CPO OR-9
พันจ่าโท พ.จ.ท. Chief Petty Officer Second Class 2 CPO OR-8
พันจ่าตรี พ.จ.ต. Chief Petty Officer Third CLASS 3 CPO OR-7
จ่าเอก จ.อ. Petty Officer First Class 1 PO OR-5
จ่าโท จ.ท. Petty Officer Second Class 2 PO OR-4
จ่าตรี จ.ต. Petty Officer Third CLASS 3 PO OR-2
ชั้นสัญญาบัตร
จอมพลเรือ Admiral of the Fleet ADMF OF-10
พลเรือเอก พล.ร.อ. Admiral ADM OF-9
พลเรือโท พล.ร.ท. Vice Admiral VADM OF-8
พลเรือตรี พล.ร.ต. Rear Admiral RADM OF-7
พลเรือจัตวา[4] พล.ร.จ. Commodore CDRE OF-6 -
เหมือนเดิมอีก เทียบนายพัน
นาวาเอก (พิเศษ)[5] น.อ.(พิเศษ) (ชื่อ) ร.น. Special Captain SPEC CAPT OF-6 -
นาวาเอก น.อ. (ชื่อ) ร.น. Captain CAPT OF-5
นาวาโท น.ท. (ชื่อ) ร.น. Commander CDR OF-4
นาวาตรี น.ต. (ชื่อ) ร.น. Lieutenant Commander LCDR OF-3
เหมือนเดิมค่ะ เทียบนายร้อย
เรือเอก ร.อ. (ชื่อ) ร.น. Lieutenant LT OF-2
เรือโท ร.ท. (ชื่อ) ร.น. Junior Lieutenant JLT OF-1
เรือตรี ร.ต. (ชื่อ) ร.น. Sub-Lieutenant SUBLT OF-1
นักเรียนตำรวจ
นักเรียนนายร้อยตำรวจ - นรต. - Police Cadet
ต่ำกว่าชั้นประทวน
พลตำรวจ - พลฯ- Policeman Constable หรือ Police Private - POL.CONST
ชั้นประทวน
ดาบตำรวจ -ด.ต. -Police Senior Sergeant Major -POL.SEN.SGT.MAJ.
จ่าสิบตำรวจ- จ.ส.ต.- Police Sergeant Major -POL.SGT.MAJ.
สิบตำรวจเอก- ส.ต.อ.- Police Sergeant -POL.SGT.
สิบตำรวจโท -ส.ต.ท. -Police Corporal -POL.CPL.
สิบตำรวจตรี -ส.ต.ต. -Police Lance Corporal- POL.L หรือ C
ยศนายตำรวจชั้นประทวนที่ว่า จ.ส.ต.ซึ่งย่อมาจาก จ่านายสิบตำรวจ” (หมายถึงหัวหน้าของตำรวจชั้นนายสิบทั้งหลาย) ยศตำรวจนั้น เขามี พลตำรวจ-สิบตำรวจตรี (ส.ต.ต.)-สิบตำรวจโท (ส.ต.ท.)-สิบตำรวจเอก (ส.ต.อ.) ซึ่งทั้ง ส.ต.ต.-ส.ต.ท.-ส.ต.อ.นี้เราเรียกกันทั่วๆไปว่า ผู้หมู่อันย่อมาจากผู้บังคับหมู่เพราะตำรวจระดับนี้ มีพลตำรวจเป็นลูกน้องในบังคับบัญชาเป็นหมู่ๆ
จากผู้บังคับหมู่ก็จะเป็นยศที่สูงขึ้นไปอีกขึ้น คือ จ่าซึ่งเป็นขั้นหัวหน้าของนายสิบทั้งหลายอีกชั้นหนึ่ง เขาจึงให้เรียกว่า จ่า (ของนาย) สิบตำรวจและตำรวจนั้นมีแต่ จ่านายสิบ อย่างเดียว
การเทียบยศของทหารและตำรวจไทยเป็นภาษาอังกฤษจะอ้างอิงกับยศของกองทัพสหรัฐอเมริกา (ก่อนหน้านี้ใช้การเทียบยศกับยศของกองทัพอังกฤษ)